EF Guideline
รู้จักเครื่องมือ ล็อกอิน

เครื่องมือสร้างแผนกิจกรรม

เพื่อเสริมสร้างทักษะสมอง EF สำหรับเด็กปฐมวัย

ตามแบบ EF Guideline เครื่องมือวิเคราะห์เพื่อออกแบบ “การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะสมอง EF” สำหรับครูปฐมวัย

แผนกิจกรรม: ร้องเล่นเต้นเพลิน

ระดับชั้น/ช่วงวัย: 3เดือน - 1.6 ปี     เวลา: 5นาที นาที


หากต้องการเซฟเป็นไฟล์ PDF ให้กดปุ่มแล้วเลือก Save to PDF แทนที่จะเลือกเครื่องพิมพ์


สร้างโดย: สิรินดา พุ่มกุมาร | เมื่อ: 21-01-2023 14:41

ส่วนที่ 1 เป้าหมาย

ข้อ 1 จุดมุ่งหมาย

เพื่อสร้างเจตคติ (Attitude)

มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เลี้ยงดู

เพื่อให้ได้ทักษะ (Skill)

กล้ามเนื้อมัดเล็กและภาษาสติปัญญา (การสอดคล้อง)

ข้อ 2 ความคิดหลักในการออกแบบ

ให้เด็กเรียนรู้:

ฝึกการจำ การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ฝึกสมาธิ

ผ่านกิจกรรม:

เล่านิทาน ทำท่าประกอบเพลงตามหนังสือนิทาน

ข้อ 3 มุ่งสร้างเสริม EF ในด้านต่างๆ

ทักษะพื้นฐาน: จำเพื่อใช้งาน ยั้งคิด ไตร่ตรอง

ทักษะกำกับตนเอง: จดจ่อใส่ใจ

ทักษะปฏิบัติ:

โดยให้เด็กได้รับการพัฒนา EF ผ่านโอกาสต่างๆ ดังนี้: ได้ฝึกการจดจ่อใส่ใจ ได้เรียนรู้ผ่านการเล่น

ข้อ 4 พัฒนาการ 4 ด้าน (ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา)

ร่างกาย

เด็กได้ฝึกการนั่งทรงตัว การโยกตามเพลง

อารมณ์-จิตใจ

ร่าเริง อารมณ์ดี

สังคม

ชอบกิจกรรมที่เพื่อนนั่งอยู่ด้วยจะชอบหันมองตามเพื่อนๆและผู้เลี้ยงดู

สติปัญญา

ได้ออกเสียงละได้เรียนรุ้ตามการเล่านิทาน

ข้อ 5 พฤติกรรมเด็กที่คาดหวัง (Expected Behavior)

เด็กได้เคลื่อนไหวร่างกายตามจังหวะเพลงได้ถูกต้อง ได้มีสมาธิจดจ่อในการฟังนิทาน สร้างความสนุกนสนาน อารมณ์ดี


ส่วนที่ 2 กิจกรรม

ข้อ 6 ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์เดิมของเด็กที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ในเรื่องนี้เป็นอย่างไรบ้าง

ผู้ปกครองได้มีการเล่านิทานให้เด็กฟัง

ข้อ 7 ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ใหม่ / ความท้าทายที่ต้องการให้เกิดในกิจกรรม เป็นอย่างไร

เด็กสามารถเกิดทักษะในการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ภาษาและสติปัญญา

ข้อ 8-9 ขั้นตอน / กระบวนการ และวัตถุประสงค์

ขั้นที่ การดำเนินการ วัตถุประสงค์
1 เล่านิทานส่งเสริมสูงต่ำ ส่งเสริมด้านความจำเพื่อใช้งาน มีสมาธิจดจ่อใส่ใจ/ยั่งคิดใตร่ตรอง
สร้างเสริม EF ด้าน: จำเพื่อใช้งาน ยั้งคิด ไตร่ตรอง จดจ่อใส่ใจ

ข้อ 10 สื่อ/อุปกรณ์

สำหรับครู:

นิทาน/ผู้ดูแล/เครื่องดนตรี

สำหรับเด็ก:

ข้อ 11 การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF

การจัดสภาพแวดล้อมทางกาย:

จัดสภาพแวดล้อมเก็บของเล่นทุกอย่าง ให้เป็นระเบียบและปลอดภัย

การจัดสภาพแวดล้อมทางความคิด:

ใช้การเคาะเครื่องดนตรีที่มีเสียงเคาะเรียกให้เด็กมีสมาธิ มีการอุ้มเด็ก ผู้ดูแลประคองอยู่ด้านหลัง

การจัดสภาพแวดล้อมทางจิตใจ:

ดูแลตอบสนองความต้องการ คือ การทานให้อิ่ม นอนพักให้เพียงพอ เปลี่ยนผ้าอ้อม