EF Guideline
รู้จักเครื่องมือ ล็อกอิน

เครื่องมือสร้างแผนกิจกรรม

เพื่อเสริมสร้างทักษะสมอง EF สำหรับเด็กปฐมวัย

ตามแบบ EF Guideline เครื่องมือวิเคราะห์เพื่อออกแบบ “การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะสมอง EF” สำหรับครูปฐมวัย

แผนกิจกรรม: เสริมปะสบการณ์

ระดับชั้น/ช่วงวัย: อนุบาล 3     เวลา: 30 นาที


หากต้องการเซฟเป็นไฟล์ PDF ให้กดปุ่มแล้วเลือก Save to PDF แทนที่จะเลือกเครื่องพิมพ์


สร้างโดย: นางรัตนา ซุ้นจ้าย | เมื่อ: 18-03-2022 11:29

ส่วนที่ 1 เป้าหมาย

ข้อ 1 จุดมุ่งหมาย

เพื่อสร้างเจตคติ (Attitude)

การรู้จักการรอคอย

ข้อ 2 ความคิดหลักในการออกแบบ

ให้เด็กเรียนรู้:

การเข้าแถวรอรับสิ่งของ

ผ่านกิจกรรม:

การเข้าแถวรับสิ่งของ

ข้อ 3 มุ่งสร้างเสริม EF ในด้านต่างๆ

ทักษะพื้นฐาน: ยั้งคิด ไตร่ตรอง

ทักษะกำกับตนเอง: ควบคุมอารมณ์

ทักษะปฏิบัติ:

โดยให้เด็กได้รับการพัฒนา EF ผ่านโอกาสต่างๆ ดังนี้: ได้เรียนรู้ผ่านกิจวัตรประจำวัน

ข้อ 4 พัฒนาการ 4 ด้าน (ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา)

สังคม

การรอคอย

ข้อ 5 พฤติกรรมเด็กที่คาดหวัง (Expected Behavior)

เด็กสามารถอดทนต่อการรอคอย


ส่วนที่ 2 กิจกรรม

ข้อ 6 ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์เดิมของเด็กที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ในเรื่องนี้เป็นอย่างไรบ้าง

รู้จักการให้ การรอ การเข้าแถวตามลำดับ

ข้อ 7 ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ใหม่ / ความท้าทายที่ต้องการให้เกิดในกิจกรรม เป็นอย่างไร

การอยู่ร่วมกับเพื่อนในสังคม

ข้อ 8-9 ขั้นตอน / กระบวนการ และวัตถุประสงค์

ขั้นที่ การดำเนินการ วัตถุประสงค์
1 ให้นักเรียนได้ดูคลิปวีดีโอ เกี่ยวกับการซื้อของ เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาสภาพจริงในสังคม
สร้างเสริม EF ด้าน: จำเพื่อใช้งาน
2 นักเรียนเปรียบเทียบ บอกปัญหา วิธีแก้ปัญหา เพื่อให้นักเรียนได้เปรียบเทียบ ระบุปัญหา แลหาวิธีการแก้ปัญหาได้
สร้างเสริม EF ด้าน: ยืดหยุ่นความคิด ริเริ่มและลงมือทำ วางแผน จัดระบบ ดำเนินการ
3 นักเรียนแลกเปลี่ยน สรุปความคิดเห็น เพื่อให้นักเรียนได้ร่วมกันวิเคราะห์และหาทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุดและนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
สร้างเสริม EF ด้าน: วางแผน จัดระบบ ดำเนินการ มุ่งเป้าหมาย

ข้อ 10 สื่อ/อุปกรณ์

สำหรับครู:

คลิปวีดีโอ

สำหรับเด็ก:

กระดาษ

ข้อ 11 การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF

การจัดสภาพแวดล้อมทางกาย:

ความปลอดภัย ความสะอาด

การจัดสภาพแวดล้อมทางความคิด:

กระตุ้นความสนใจ สังเกต วิเคราะห์

การจัดสภาพแวดล้อมทางจิตใจ:

ความรู้สึก การทำงานร่วมกับเพื่อน