EF Guideline
รู้จักเครื่องมือ ล็อกอิน

เครื่องมือสร้างแผนกิจกรรม

เพื่อเสริมสร้างทักษะสมอง EF สำหรับเด็กปฐมวัย

ตามแบบ EF Guideline เครื่องมือวิเคราะห์เพื่อออกแบบ “การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะสมอง EF” สำหรับครูปฐมวัย

แผนกิจกรรม: การเตะบอล

ระดับชั้น/ช่วงวัย: อนุบาลปีที่ 3 ( 5-6 ขวบ )     เวลา: 25 นาที นาที


หากต้องการเซฟเป็นไฟล์ PDF ให้กดปุ่มแล้วเลือก Save to PDF แทนที่จะเลือกเครื่องพิมพ์


สร้างโดย: เสาวลักษณ์ พยุง | เมื่อ: 08-04-2022 14:46

ส่วนที่ 1 เป้าหมาย

ข้อ 1 จุดมุ่งหมาย

เพื่อสร้างเจตคติ (Attitude)

มีวินัยและมีความรู้สึกที่ดีต่อการเตะบอล

เพื่อให้ได้เนื้อหาความรู้ (Knowledge)

บังคับขา เท้า การทรงตัว ในการเตะบอล

เพื่อให้ได้ทักษะ (Skill)

เตะบอลได้อย่างคล่องแคล่ว

เพื่อให้นำไปปฏิบัติได้ (Action)

สามารถเตะบอลได้ตามข้อตกลง

เพื่อให้เกิดความคิดรวบยอด (Concept)

มีประสบการณ์ในการเตะบอลได้ตามข้อตกลง

ข้อ 2 ความคิดหลักในการออกแบบ

ให้เด็กเรียนรู้:

เรียนรู้วิธีการและข้อตกลงในการเตะบอล

ผ่านกิจกรรม:

การเตะบอล

ข้อ 3 มุ่งสร้างเสริม EF ในด้านต่างๆ

ทักษะพื้นฐาน: จำเพื่อใช้งาน ยั้งคิด ไตร่ตรอง ยืดหยุ่นความคิด

ทักษะกำกับตนเอง: จดจ่อใส่ใจ ควบคุมอารมณ์ ติดตาม ประเมินตนเอง

ทักษะปฏิบัติ: ริเริ่มและลงมือทำ วางแผน จัดระบบ ดำเนินการ มุ่งเป้าหมาย

โดยให้เด็กได้รับการพัฒนา EF ผ่านโอกาสต่างๆ ดังนี้: ได้คิด ได้สงสัย ได้สังเกต ได้เลือก ตัดสินใจ วางแผน ได้ลงมือทำ ได้แสดงความคิดเห็น และวิเคราะห์ผลการทำงานของตนเอง ได้เรียนรู้ผ่านกิจวัตรประจำวัน ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ ได้เรียนรู้ผ่านการบูรณาการประสาทสัมผัสทั้งห้า รวมทั้งระบบเอ็นข้อต่อและระบบการทรงตัว ได้ฝึกทักษะด้านอารมณ์และสังคม; เข้าใจตนเองและผู้อื่น จัดการอารมณ์ตนเองและความสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ ได้ฝึกการจดจ่อใส่ใจ ได้ลองผิดลองถูก ได้เรียนรู้ผ่านการเล่น ได้แก้ปัญหา ได้รับแรงบันดาลใจ อื่นๆ

ข้อ 4 พัฒนาการ 4 ด้าน (ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา)

ร่างกาย

การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และเคลื่อนที่ กล้ามเนื้อเล็กกล้ามเนื้อใหญ่ทำงานประสานสัมพันธ์กับสายตา

อารมณ์-จิตใจ

การแสดงออกอย่างสนุกสนาน มีสมาธิจดจ่อกับกิจกรรมที่ทำ

สังคม

การเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่น เคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น

สติปัญญา

รู้จักการวางแผนและรู้จักการแก้ปัญหาด้วยตนเอง

ข้อ 5 พฤติกรรมเด็กที่คาดหวัง (Expected Behavior)

เด็กสามารถเตะบอลได้ตามข้อตกลง


ส่วนที่ 2 กิจกรรม

ข้อ 6 ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์เดิมของเด็กที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ในเรื่องนี้เป็นอย่างไรบ้าง

เด็กรู้จักลูกบอลเคยเล่นเตะบอล

ข้อ 7 ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ใหม่ / ความท้าทายที่ต้องการให้เกิดในกิจกรรม เป็นอย่างไร

เด็กเตะบอลเป็น พร้อมทั้งเตะบอลส่งให้เพื่อนได้อย่างแม่นยำ

ข้อ 8-9 ขั้นตอน / กระบวนการ และวัตถุประสงค์

ขั้นที่ การดำเนินการ วัตถุประสงค์
1 คุณครูแนะนำอุปกรณ์ ลูกบอล ตาข่าย โกฟุตบอล เพื่อให้นักเรียนบอกชื่ออุปกรณ์ได้ถูกต้อง
สร้างเสริม EF ด้าน: จำเพื่อใช้งาน ยั้งคิด ไตร่ตรอง จดจ่อใส่ใจ ควบคุมอารมณ์ มุ่งเป้าหมาย
2 แนะนำพร้อมสาธิตวิธีการเล่น เด็กๆสามารถเล่นเกมได้
สร้างเสริม EF ด้าน: จำเพื่อใช้งาน ยั้งคิด ไตร่ตรอง ยืดหยุ่นความคิด จดจ่อใส่ใจ ควบคุมอารมณ์ ติดตาม ประเมินตนเอง ริเริ่มและลงมือทำ วางแผน จัดระบบ ดำเนินการ มุ่งเป้าหมาย
3 เด็กลงมือเล่นเตะบอลด้วยตนเอง เด็กเกิดทักษะในการเรียนรู้ถึงวิธีการ ขั้นตอน ข้อตกลงในการเล่นเตะบอล
สร้างเสริม EF ด้าน: จำเพื่อใช้งาน ยั้งคิด ไตร่ตรอง ยืดหยุ่นความคิด จดจ่อใส่ใจ ควบคุมอารมณ์ ติดตาม ประเมินตนเอง ริเริ่มและลงมือทำ วางแผน จัดระบบ ดำเนินการ มุ่งเป้าหมาย

ข้อ 10 สื่อ/อุปกรณ์

สำหรับครู:

ลูกบอล ตาข่าย โกลฟุตบอล

สำหรับเด็ก:

ลูกบอล ตาข่าย โกลฟุตบอล

ข้อ 11 การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF

การจัดสภาพแวดล้อมทางกาย:

สถานที่มีร่มเงาเหมาะสมกับเด็ก ปลอดภัย

การจัดสภาพแวดล้อมทางความคิด:

เด็กได้เลือกและลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง

การจัดสภาพแวดล้อมทางจิตใจ:

คุณครูให้คำชมเด็กที่ปฏิบัติได้ ช่วยเหลือเด็กที่ยังทำไม่คล่องเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งชื่นชมเด็กทุกคน