EF Guideline
รู้จักเครื่องมือ ล็อกอิน

เครื่องมือสร้างแผนกิจกรรม

เพื่อเสริมสร้างทักษะสมอง EF สำหรับเด็กปฐมวัย

ตามแบบ EF Guideline เครื่องมือวิเคราะห์เพื่อออกแบบ “การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะสมอง EF” สำหรับครูปฐมวัย

แผนกิจกรรม: เสรมประสบการณ์

ระดับชั้น/ช่วงวัย: อนุบาล1     เวลา: 20นาที นาที


หากต้องการเซฟเป็นไฟล์ PDF ให้กดปุ่มแล้วเลือก Save to PDF แทนที่จะเลือกเครื่องพิมพ์


สร้างโดย: นางวันทนีย์ มะโนวิริยะ | เมื่อ: 08-04-2022 15:03

ส่วนที่ 1 เป้าหมาย

ข้อ 1 จุดมุ่งหมาย

เพื่อสร้างเจตคติ (Attitude)

บอกสภาพอากาศของฤดูฝนได้

เพื่อให้ได้เนื้อหาความรู้ (Knowledge)

สภาพอากาศของฤดูฝนจะร้อนอบอ้าวก่อนฝนตกและจะเย็นหลังฝนตก

เพื่อให้ได้ทักษะ (Skill)

การสังเกตุ

เพื่อให้นำไปปฏิบัติได้ (Action)

ในชีวิตประจำวัน

เพื่อให้เกิดความคิดรวบยอด (Concept)

ฤดูฝนเป็นฤดูที่เกิดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงปลายเดือนกันยายนของทุกปีมีสภาพอากาศร้อนอบอ้าวมีก้อนเมฆหนาครึ้มหลังฝนตกจะชื้นหนาวเย็น

ข้อ 2 ความคิดหลักในการออกแบบ

ให้เด็กเรียนรู้:

สภาพอากาศในฤดูฝน

ผ่านกิจกรรม:

การทดลอง

ข้อ 3 มุ่งสร้างเสริม EF ในด้านต่างๆ

ทักษะพื้นฐาน: ยืดหยุ่นความคิด

ทักษะกำกับตนเอง: ติดตาม ประเมินตนเอง

ทักษะปฏิบัติ: ริเริ่มและลงมือทำ

โดยให้เด็กได้รับการพัฒนา EF ผ่านโอกาสต่างๆ ดังนี้: ได้คิด ได้สงสัย ได้สังเกต ได้ลงมือทำ ได้แสดงความคิดเห็น และวิเคราะห์ผลการทำงานของตนเอง ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ ได้เรียนรู้ผ่านการบูรณาการประสาทสัมผัสทั้งห้า รวมทั้งระบบเอ็นข้อต่อและระบบการทรงตัว ได้ฝึกการจดจ่อใส่ใจ ได้ลองผิดลองถูก ได้เรียนรู้ผ่านการเล่น

ข้อ 4 พัฒนาการ 4 ด้าน (ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา)

สังคม

การทำกิจกรรมร่วมกันและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

ข้อ 5 พฤติกรรมเด็กที่คาดหวัง (Expected Behavior)

การทำงานร่วมกันได้อย่างมีความสุขรู้จักการรอคอยและการช่วยเหลือการแบ่งปันสิ่งของ


ส่วนที่ 2 กิจกรรม

ข้อ 6 ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์เดิมของเด็กที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ในเรื่องนี้เป็นอย่างไรบ้าง

ให้เด็กๆออกมาเล่าประสบการเดิมที่พบเห็นให้เพื่อนๆได้ฟังและทำการคาดเดาสิ่งที่จะทำการทดลองก่อน

ข้อ 7 ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ใหม่ / ความท้าทายที่ต้องการให้เกิดในกิจกรรม เป็นอย่างไร

ต่อยอดด้วการสอนเรื่องการเกิดไอน้ำจากการต้มน้ำแล้วละเหยกลายเป็นไอน้ำเกาะที่ฝาภาชนะแล้วกลายเป็นหยด

ข้อ 8-9 ขั้นตอน / กระบวนการ และวัตถุประสงค์

ขั้นที่ การดำเนินการ วัตถุประสงค์
1 ขั้นนำ เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง สายฝน เด็กได้รู้จักสภาพอากาศของฤดูฝน
สร้างเสริม EF ด้าน: ยืดหยุ่นความคิด จดจ่อใส่ใจ มุ่งเป้าหมาย
2 ทำการทดลอง การเกิดของฝนขั้นตอนดังนี้ 1.ให้คาดเดาก่อนทดลอง 2.แนะนำอุปกรณ์ -กระทะไฟฟ้าที่มีฝาแก้ว/กาต้มน้ำ -น้ำเปล่าและอธิบายขั้นตอนการทดลอง 3.ลงมือปฏิบัติด้วยการต้มน้ำให้เดือด 4.เด็กๆสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นขณะทดลองและจดบันทึกด้วยการวาดรูภาพประกอบภาพ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้วิธีการที่ทำให้เกิดฝนมากขึ้น
สร้างเสริม EF ด้าน: ยืดหยุ่นความคิด ติดตาม ประเมินตนเอง วางแผน จัดระบบ ดำเนินการ
3 ทวบทวนและช่วยกันสรุป เพื่อให้เด็กเกิดความเข้าใจในเรื่องของการเกิดฝนมากขึ้นสามารถบอกสภาพอากาศในฤดูฝนและดูแลความปลอดภัยขณะที่ทำการทดลอง
สร้างเสริม EF ด้าน: ยืดหยุ่นความคิด จดจ่อใส่ใจ มุ่งเป้าหมาย

ข้อ 10 สื่อ/อุปกรณ์

สำหรับครู:

กระทะไฟฟ้า/แว่นขยาย

สำหรับเด็ก:

น้ำเปล่า

ข้อ 11 การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF

การจัดสภาพแวดล้อมทางกาย:

-การบูรณาการ -ความปลอดภัย -ระเบียบวินัย

การจัดสภาพแวดล้อมทางความคิด:

กระตุ้นความสนใจ การสำรวจ สะท้อนความคิด

การจัดสภาพแวดล้อมทางจิตใจ:

ความปลอดภัย ความรู้สึกเ็นสมาชิกของกลุ่ม