EF Guideline
รู้จักเครื่องมือ ล็อกอิน

เครื่องมือสร้างแผนกิจกรรม

เพื่อเสริมสร้างทักษะสมอง EF สำหรับเด็กปฐมวัย

ตามแบบ EF Guideline เครื่องมือวิเคราะห์เพื่อออกแบบ “การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะสมอง EF” สำหรับครูปฐมวัย

แผนกิจกรรม: กิจกรรมเคลื่อนไหว

ระดับชั้น/ช่วงวัย: อนุบาล1     เวลา: 20 นาที


หากต้องการเซฟเป็นไฟล์ PDF ให้กดปุ่มแล้วเลือก Save to PDF แทนที่จะเลือกเครื่องพิมพ์


สร้างโดย: นางวันทนีย์ มะโนวิริยะ | เมื่อ: 08-04-2022 19:10

ส่วนที่ 1 เป้าหมาย

ข้อ 1 จุดมุ่งหมาย

เพื่อสร้างเจตคติ (Attitude)

มีเจตคติที่ดีต่อตัวเองและผู้อื่นในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหว

เพื่อให้ได้ทักษะ (Skill)

มีทักษะในการเคลื่อนไหวได้คล่องแคล่ว

เพื่อให้นำไปปฏิบัติได้ (Action)

นำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้

เพื่อให้เกิดความคิดรวบยอด (Concept)

สามารถเคลื่อนไหวร่างกายอยู่กับที่/เคลื่อนที่ได้อย่างปลอดภัย

ข้อ 2 ความคิดหลักในการออกแบบ

ให้เด็กเรียนรู้:

เด็กเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหวร่างกายได้คล่องแคล่วและปลอดภัย

ผ่านกิจกรรม:

กิจกรรมการเคลื่อนไหว

ข้อ 3 มุ่งสร้างเสริม EF ในด้านต่างๆ

ทักษะพื้นฐาน: จำเพื่อใช้งาน ยั้งคิด ไตร่ตรอง ยืดหยุ่นความคิด

ทักษะกำกับตนเอง: จดจ่อใส่ใจ ควบคุมอารมณ์ ติดตาม ประเมินตนเอง

ทักษะปฏิบัติ: ริเริ่มและลงมือทำ วางแผน จัดระบบ ดำเนินการ มุ่งเป้าหมาย

โดยให้เด็กได้รับการพัฒนา EF ผ่านโอกาสต่างๆ ดังนี้: ได้คิด ได้สงสัย ได้สังเกต ได้เลือก ตัดสินใจ วางแผน ได้ลงมือทำ ได้แสดงความคิดเห็น และวิเคราะห์ผลการทำงานของตนเอง ได้เรียนรู้ผ่านกิจวัตรประจำวัน ได้เรียนรู้ผ่านการบูรณาการประสาทสัมผัสทั้งห้า รวมทั้งระบบเอ็นข้อต่อและระบบการทรงตัว ได้ฝึกทักษะด้านอารมณ์และสังคม; เข้าใจตนเองและผู้อื่น จัดการอารมณ์ตนเองและความสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ ได้ฝึกการจดจ่อใส่ใจ ได้ลองผิดลองถูก ได้เรียนรู้ผ่านการเล่น ได้แก้ปัญหา ได้รับแรงบันดาลใจ

ข้อ 4 พัฒนาการ 4 ด้าน (ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา)

ร่างกาย

พัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ให้แข็งแรงและเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่ว

อารมณ์-จิตใจ

อารมณ์ดีร่าเริงแจ่มใสกล้าแสดงออกคำถาม

สังคม

สามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขรู้จักการรอคอย

สติปัญญา

สนทนาโต้ตอบแล้วตอบคำถามคิดท่าทางออกมานำแสนอให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้

ข้อ 5 พฤติกรรมเด็กที่คาดหวัง (Expected Behavior)

นำไปใช้กับชีวิตประจำวันได้


ส่วนที่ 2 กิจกรรม

ข้อ 6 ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์เดิมของเด็กที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ในเรื่องนี้เป็นอย่างไรบ้าง

ให้เด็กๆออกมาเล่าประสบการณ์เดิมในการเคลื่อนไหวร่างกายเช่นไปออกกำลังกายกับคุณพ่อคุณแม่

ข้อ 7 ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ใหม่ / ความท้าทายที่ต้องการให้เกิดในกิจกรรม เป็นอย่างไร

ให้เด็กๆคิดท่าทางคนละ1ท่าและออกมาเป็นผู้นำให้เพื่อนทำตาม

ข้อ 8-9 ขั้นตอน / กระบวนการ และวัตถุประสงค์

ขั้นที่ การดำเนินการ วัตถุประสงค์
1 เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม เพื่อให้เด็กเคลื่อนไหวได้คล่องแคล่วและปลอดภัย
สร้างเสริม EF ด้าน: จำเพื่อใช้งาน ยั้งคิด ไตร่ตรอง ยืดหยุ่นความคิด จดจ่อใส่ใจ ควบคุมอารมณ์ ติดตาม ประเมินตนเอง ริเริ่มและลงมือทำ วางแผน จัดระบบ ดำเนินการ มุ่งเป้าหมาย
2 ขั้นสอน 1.ครูให้เด็กๆยืนตามจุดที่กำหนดให้โดยเว้นระยะห่างตามนโยบายโควิด-19 2.อธิบายขั้นตอนการเคลื่อนไหวร่างกายอยู่กับที่/เคลื่อนที่ 3.สาธิตให้ดู1รอบ 4.ให้เด็กลงมือปฏิบัติโดยมีตัวแทนออกมาเป็นผู้นำทีละคนมีครูคอยเป็นผู้ชี้แนะ -เด็กสามรถเคลื่อนร่างกายได้อย่างคล่องแคล่วและปลอดภัย -รู้จักการเป็นผู้นำผู้ตามได้ -มีสังคมในการทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้
สร้างเสริม EF ด้าน: จำเพื่อใช้งาน ยั้งคิด ไตร่ตรอง ยืดหยุ่นความคิด จดจ่อใส่ใจ ควบคุมอารมณ์ ติดตาม ประเมินตนเอง ริเริ่มและลงมือทำ วางแผน จัดระบบ ดำเนินการ มุ่งเป้าหมาย
3 ขั้นสรุป -ครูส่งสัญญานการหยุดและให้เด็กๆหยุดทันทีโดยไมเสียการทรงตัว -สนทนาพูดคุยถึงประโยชน์และปัญหาขณะทำกิจกรรม รู้ขั้นตอนการเคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่วและปลอดภัยได้
สร้างเสริม EF ด้าน: จำเพื่อใช้งาน ยั้งคิด ไตร่ตรอง ยืดหยุ่นความคิด จดจ่อใส่ใจ ควบคุมอารมณ์ ติดตาม ประเมินตนเอง ริเริ่มและลงมือทำ วางแผน จัดระบบ ดำเนินการ มุ่งเป้าหมาย
4 ประเมิน -เด็กสามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้คล่องแคล่วและปลอดภัย -สามารถทำกิจกรรร่วมกับผู้อื่นและรู้จักการอคอยได้ดี สามารถรู้พัฒการด้านร่างกายด้านอารมณ์ด้านสังคมและสติปัญญาของเด็กแต่ละคนได้
สร้างเสริม EF ด้าน: จำเพื่อใช้งาน ยั้งคิด ไตร่ตรอง ยืดหยุ่นความคิด จดจ่อใส่ใจ ควบคุมอารมณ์ ติดตาม ประเมินตนเอง ริเริ่มและลงมือทำ วางแผน จัดระบบ ดำเนินการ มุ่งเป้าหมาย

ข้อ 10 สื่อ/อุปกรณ์

สำหรับครู:

เครื่องเคาะจังหวะ

สำหรับเด็ก:

ไม่มี

ข้อ 11 การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF

การจัดสภาพแวดล้อมทางกาย:

-มีวินัย -การบูรณาการ -ความปลอดภัย -ดูแลความสะอาดของร่างกาย -การช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น

การจัดสภาพแวดล้อมทางความคิด:

-สนใจใฝ่เรียนรู้ -สะท้อนความคิดของตนเอง -รู้จักสำรวจตัวเองก่อนทำกิจกรรม

การจัดสภาพแวดล้อมทางจิตใจ:

-มีความสุขในการทำกิจกรรม -รู้จักการผ่อนคลายกล้ามเนื้อในการนั่งพัก -รู้หน้าที่ของการทำกิจกรรเป็นกลุ่ม